หวนคืนมาซบรัก(回來墜入愛河) - นิยาย หวนคืนมาซบรัก(回來墜入愛河) : Dek-D.com - Writer
×
NC

คำเตือนเนื้อหา

เนื้อหาของเรื่องนี้อาจมีฉากหรือคำบรรยายที่ไม่เหมาะสม

  • มีการบรรยายฉากกิจกรรมทางเพศ

เยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี ควรใช้วิจารณญานในการอ่าน

กดยอมรับเพื่อเข้าสู่เนื้อหา หรือ อ่านเงื่อนไขเพิ่มเติม
ปิด

    หวนคืนมาซบรัก(回來墜入愛河)

    ผู้เข้าชมรวม

    3,583

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    43

    ผู้เข้าชมรวม


    3.58K

    ความคิดเห็น


    6

    คนติดตาม


    30
    จำนวนตอน :  44 ตอน (จบแล้ว)
    อัปเดตล่าสุด :  20 พ.ย. 67 / 11:17 น.
    คำเตือนเนื้อหา NC

    มีการบรรยายฉากกิจกรรมทางเพศ

    loading
    กำลังโหลด...
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

    ผลิกผันมาบรรจบ เวียนมาพบมิอาจฝืน ได้หวนคืนสู่ชะตา ยื้อรักษาวาสนาตน

     

    ข้าวฟ่าง​ หญิ​งสาวชาวไทย​อายุ​33 ปี​ ที่เกิดเหตุ​ผลัดตกจากริมผาขณะมาเที่ยวชมแสงแรก
     

    โจวฟางเซียน  บุตรสาวคนเดียวที่เกิดจากหลิวฮูหยิน ก่อนครบขวบเคยพลัดตกน้ำหลับยาวนาน 2วัน​2คืน

     

    ขอฝาก​ ฟางเซียนหรือข้าวฟ่างไว้อีกหนึ่งคนนะคะ
     

    ชื่อและความหมาย

    芳仙 ฟางเซียน-นางฟ้าผู้มีกลิ่นหอม 

    ค่าเงินในของจีนและน้ำหนัก

    สมัยโบราณระบบเงินตราใช้มูลค่าตามน้ำหนัก

    เงิน ๑ ตำลึง = โลหะเงินมูลค่า ๑ ตำลึง

    ๑ ตำลึงทองก็คือทองคำหนัง ๑ ตำลึง

    ๑ ตำลึง = ๑๐ หุน

    ๑ หุน = ๑๐ จี๊

    อีแปะ เป็นหน่วยย่อยของ ตำลึง กำหนดในสมัยคังซีฮ่องเต้

    อีแปะ : เป็นเงินตราที่มีรูปลักษณ์เหมือนเงินเหรียญของจีน ทำด้วยตะกั่วผสมดีบุก บรรดานายเหมือง และเจ้าเมืองแถบภาคใต้ของไทย เป็นผู้ทำขึ้นในอาณาเขตของตน โดยมีอักษรไทย – จีน บอกชื่อเมืองกำกับไว้เป็นสำคัญ จึงมักเรียกอีแปะเหล่านี้ตามชื่อเมืองที่ผลิต เช่น อีแปะสงขลา อีแปะพัทลุง อีแปะปัตตานี

    เงินแท่งและเงินก้อน : มีรูปลักษณ์ต่างๆกัน เช่น รูปเรือสำเภา อานม้า ขนมครก ฯลฯ เป็นเงินตราที่จีนนำมาใช้ ในอาณาจักรล้านนาไทย ราคาคิดตามน้ำหนักเงิน เป็นตำลึงจีน (๑๐ สลึง เท่ากับ๑ ตำลึงจีน) เนื่องจากเงินนี้มีเนื้อเงินบริสุทธิ์สูงเกือบ ๑๐๐ เปอร์เซนต์ จึงมีผู้นำไปใช้เป็นเครื่องประดับ และภาชนะใช้สอยกันมาก

    ที่มาจาก : สารคดีชุด ตราเงินโบราณ http://www.baanjomyut.com/library/calendar/old_money/index.html

    จากค่า 10สลึง = 1ตำลึงเงิน

    *1 สลึง = 25สตางค์

    ดังนั้น 250สตางค์ = 1ตำลึงเงิน

    ***กรณีนี้ในเรื่องเป็นเหตุการณ์ก่อนราชวงศ์ชิงที่เพิ่งเริ่มใช้เงินอีแปะดังนั้นจึงยังไม่มีเงินอีแปะในเรื่องนี้ จึงใช้เทียบค่าเงินอีแปะเป็น เฉียน(錢) ให้100เฉียน=100อีแปะ และเพื่อให้มองภาพออก 100เฉียน=25สตางค์(1สลึง ไทย)

    **เพิ่มเติม 1000อีแปะ=1ตำลึงเงิน

    *** 1ตำลึงทอง = 10ตำลึงเงิน


     

    หนังสือ ไป๋เจียะฉิง


     

    กำแพงเมืองจีนยังคงเรียกว่า "กำแพงพันลี้" ("ว่านหลี่ฉางเฉิง") เหนื่อแม่น้ำเหลือง/ฮวงโห

    เดินทางจากเจ้อเจียงไปส่านซี -14วัน(12,314ลี้)

     

    *ลายมือยังไม่ค่อยสวยเพิ่งหัดเขียนค่ะ

     

    ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น